วิทยานิพนธ์และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ “ชุมชนบุญนิยม” (บรรณศาสน์ชาวอโศก) ที่มีอยู่ในห้องสมุดสันติอโศก
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา มีผู้สนใจเข้ามาศึกษาเพื่อทำวิทยานิพนธ์และงานวิจัยเกี่ยวกับวิถีชีวิตใน “ชุมชนบุญนิยม” ของชาวอโศกอย่างสม่ำเสมอ มีทั้งนักศึกษาระดับปริญญาตรี, ปริญญาโทและปริญญาเอก ในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งผู้มาทำงานวิจัยด้วย
ห้องสมุดสันติอโศกได้รวบรวมวิทยานิพนธ์และงานวิจัยดังกล่าวไว้ตั้งแต่ ปี ๒๕๒๐ จนถึงปัจจุบัน อาจไม่ครบทุกเรื่องทุกเล่ม แต่ก็ได้พยายามนำมารวบรวมไว้ให้ครบถ้วนที่สุด โดยจะ copy ไว้ ๒ เล่ม เป็นปกอ่อนสีขาวหรือสีอื่น สำหรับให้ยืม ส่วนต้นฉบับที่ท่านปัจฉาสมณะหรือนักศึกษานำมามอบให้นั้นจะเก็บไว้เป็นหนังสืออ้างอิง ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่จะมาศึกษาปฏิบัติภายหลังหรือเพื่อประโยชน์อื่นใด ต่อไป
วิทยานิพนธ์, งานวิจัยฯ ใน “บรรณศาสน์ชาวอโศก”
ที่ “ห้องสมุดสันติอโศก” มีอยู่
พ.ศ. ๒๕๒๐ – ปัจจุบัน
———————————————–
ภาษาไทย
๑. ธนิต ดิษสุข. การศึกษาความเข้าใจ การปฏิบัติและการเผยแพร่ในหลักธรรมของพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๐. ๑๒๐ หน้า.
๒. ตะวัน เกียรติบุญญาฤทธิ์. การศึกษาเปรียบเทียบศีลวัตรและบทบาททางสังคมของ ‘พระชาวอโศก’ กับพุทธ–บัญญัติ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๒๑. ๒๘๒ หน้า.
๓. สมศรี ปทุมสูตร, ปยงค์ วิริยะ และอาภรณ์ พุกกะมาน. “จรณะ ๑๕” ทางเอกแห่งการบรรลุธรรมอย่างพระพุทธเจ้า มีผลจริง พิสูจน์ได้แม้ในปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๕.
๒๓๘ หน้า.
๔. เยาวดี รักษ์วิริยะ. พฤติกรรมการรับข่าวสารที่มีผลต่อการยอมรับการถือมังสวิรัติของสมาชิกพุทธสถานสันติ–อโศก. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๗. ๑๑๘ หน้า.
๕. วสันต์ ลิมป์เฉลิม และชัยยศ ศิริรัตนบวร. การพัฒนาระบบบริหารขององค์การเอกชน : ศึกษาเฉพาะพุทธสถานสันติอโศกและมูลนิธิที่เกี่ยวข้อง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๗.
๖. วิญญู เดชธราดล. สถานภาพของนักปฏิบัติธรรมชาวอโศก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๒๗.
๑๒๒ หน้า.
๗. อาภรณ์ พุกกะมาน, ชัยพร วิชชาวุธ และเกียรติ เปมกิตติ. การศึกษาการสอนศีลเพื่อสร้างเสริมพุทธ–ธรรมจริยาในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๘. ๒๓๔ หน้า.
๙. สมบัติ จันทรวงศ์. ชุมชนปฐมอโศก : การศึกษาพุทธยูโธเปีย (๑). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๒๙. ๗๐ หน้า.
2
๑๐. สุนัย เศรษฐ์บุญสร้าง. การประยุกต์แนวความคิดเรื่องเกมภาษาของวิตเกนสไตน์ในการอธิบายเรื่องของความหมายในภาษาศาสนา : ศึกษาเฉพาะกรณีภาษาของสันติอโศก. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๙. ๑๓๖ หน้า.
๑๑. นภดล ขวัญชนะภักดี. การศึกษาเปรียบเทียบบทบาทของวัดพระธรรมกายและพุทธสถานสันติอโศก ในการเผยแพร่ศาสนาในหมู่เยาวชนในสังคมไทยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๐.
๒๖๓ หน้า.
๑๒. อัคคี ศรีทราชัยกุล. ความยึดมั่นในศาสนาของชาวพุทธ : ศึกษาเฉพาะกรณีชาวพุทธในกลุ่มวัดพระธรรมกาย พุทธสถานสันติอโศก และวัดชลประทานรังสฤษดิ์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๐.
๑๔๔ หน้า.
๑๓. สุนทรี จีนธรรม. การศึกษาองค์ประกอบที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของประชาชนในหมู่บ้านโครงการปฐมอโศก ต.พระปะโทน อ.เมือง จ.นครปฐม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๑. ๒๐๙ หน้า.
๑๔. คนึงนิตย์ จันทบุตร. สถานะและบทบาทของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : (โครงการศึกษาศาสนาและสันติวิธี) กลุ่มประสานงานศาสนาเพื่อสังคม, ๒๕๓๒. ๒๘๕ หน้า.
๑๕. ปิยนาถ วรศิริ. การเมืองเรื่องศาสนา : บทบาทและการดำเนินการของพระเถรสมาคมต่อกรณีสันติอโศก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๓. ๓๘๑ หน้า.
๑๖. เพชรา ภูมิอนันท์. “พุทธศาสนาและเศรษฐกิจ” ศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นทางเศรษฐกิจของพุทธศาสนิกชน ณ วัดพระธรรมกายและพุทธสถานสันติอโศก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๓. ๑๗๒ หน้า.
๑๗. สุนัย เศรษฐ์บุญสร้าง. อุดมการณ์ทางการเมืองในพุทธศาสนา : ศึกษากรณีแนวความคิดของสำนักสันติอโศก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๓. ๑๗๙ หน้า.
๑๘. จามรี สุพันธุ์วณิช. อาหารมังสวิรัติ : ความเชื่อและพฤติกรรมของผู้บริโภค กรณีศึกษาชุมชนปฐมอโศก อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. กรุงเทพฯ :
3
มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๕. ๑๖๕ หน้า.
๑๙. ธัญญา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. โครงสร้างอำนาจของชุมชน : ศึกษากรณีชุมชนชาวอโศก. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๓๖. ๑๓๗ หน้า.
๒๐. เครือทิพย์ ปูรณะสุคนธ. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริโภคอาหารมังสวิรัติ : ศึกษากรณีร้านชมรมมังสวิรัติแห่งประเทศไทย ตลาดนัดจตุจักร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกริก, ๒๕๓๘. ๑๗๑ หน้า.
๒๑. มาเรีย–เลนา เฮกิลา–โฮร์น. มองพุทธศาสนาด้วยสองตาเปิด. ฟินแลนด์ : มหาวิทยาลัยโอบูอคาเดมี, ๒๕๓๙. ๓๐๓ หน้า. (ฉบับภาษาไทย)
๒๒. รินธรรม อโศกตระกูล. อธิกรณ์กับการปกครองสงฆ์. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
๑๑๖ หน้า.
(ISBN 974-633-648-7)
๒๓. ภัทรพร สิริกาญจน, ร.ศ.,ดร. สำนักสันติอโศก : ความเป็นมาและบทบาททางศาสนาในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๐. ๑๕๒ หน้า.
๒๔. กฤษณันต์ สุรภักดี. โครงการและงานออกแบบศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนแบบยั่งยืน. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ๒๕๔๒. ๓๐๒ หน้า.
๒๕. จรัสเรือง ศิริวัฒนรักษ์. การพัฒนาแบบพึ่งตนเองกับการพัฒนาในเชิงพุทธ : กรณีศึกษาชุมชนศีรษะอโศก. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๔๒. ๑๗๔ หน้า.
๒๖. สมหมาย ศาตทรัพย์. ความเข้มแข็งของชุมชนตามแนวทางพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงของชาวพุทธ : ศึกษากรณีชุมชนศีรษะอโศก อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีษะเกษ. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนบริหาร–ศาสตร์, ๒๕๔๒. ๑๗๙ หน้า.
๒๗. อัจฉรีย์ ทองคำเจริญ. รูปแบบการทำกสิกรรมธรรมชาติเพื่อการพึ่งตนเองของกลุ่มสันติอโศก : กรณีศึกษาชุมชนศีรษะอโศก อำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๒. ๙๑ หน้า.
4
๒๘. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคนอื่นๆ. พลวัตสุขภาพกับการพึ่งตนเอง : การวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบการพึ่งตนเองด้านสุขภาพในระดับครอบครัวและชุมชน. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, ๒๕๔๒–๒๕๔๓. ๔๑๔ หน้า.
๒๙. กิตติกร สุนทรานุรักษ์. การพัฒนาชุมชนพึ่งตนเอง : กรณีศึกษาชุมชนศีรษะอโศก. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓. ๒๔๘ หน้า.
๓๐. พจนีย์ มัยรัตน์. ความพึงพอใจของผู้บริโภคอาหารมังสวิรัติ ต่อบริการของร้านชมรมมังสวิรัติแห่งประเทศไทย สาขากรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๔๓. ๗๖ หน้า.
๓๑. เรวดี ตันนุกิจ. รูปแบบการพัฒนาสู่การพึ่งตนเองของชุมชนชาวอโศก กรณีศึกษาชุมชนอโศก อำเภอวาริน – ชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๔๓. ๑๓๙ หน้า.
๓๒. ปิยวรรณ ท่าใหญ่. ความเสี่ยงต่อการเกิดโลหิตจางในกลุ่มผู้บริโภคมังสวิรัติ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตร –
ศาสตร์, ๒๕๔๔. ๘๗ หน้า.
๓๓. นงนิตย์ ธีระวัฒนสุข และคนอื่นๆ. การวิจัยและพัฒนาคุณภาพแชมพูของชุมชนซึ่งใชัวัตถุดิบจากธรรมชาติทดแทนสารเคมีที่นำเข้าจากต่างประเทศ. อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ๒๕๔๕.
๗๘ หน้า.
๓๔. ปัทมาวดี กสิกรรม และคนอื่นๆ. การพัฒนากระบวนการผลิตและการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ในระดับชุมชน : กรณีศึกษาเครือข่ายชุมชนชาวอโศก. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, ๒๕๔๕. ๓๒๓ หน้า. (งานวิจัย)
๓๕. พจน์ โชคสวัสดิ์ไพศาล. กลยุทธ์การสื่อสารของกลุ่มสันติอโศก. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๕. ๒๐๒ หน้า. (ISBN 974-17-1325-8)
๓๖. ณัฐกนก เจนสุขสถิตไพศาล. ยุทธศาสตร์การพัฒนาของชุมชนปฐมอโศกกับการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๔๖. ๑๕๕ หน้า.
๓๗. บวร ทรัพย์สิงห์. อัตราส่วนต้นทุนประสิทธิผลการฝึกอบรมโครงการพัฒนา
5
ศักยภาพและคุณภาพชีวิตเกษตรกรหลักสูตรสัจจธรรมชีวิตตามแนว “บุญนิยม”. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๔๖. ๑๒๓ หน้า.
๓๘. รินธรรม อโศกตระกูล. การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนเพื่อการพึ่งตนเองตามแนวคิดของชาวอโศก. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖. ๒๓๗ หน้า.
(ISBN 974-17-5404-9)
๓๙. รินธรรม อโศกตระกูล. การใช้หลักพุทธศาสนาในการปกครองชุมชนสันติอโศก. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒน-บริหารศาสตร์, ๒๕๔๗. ๒๑๘ หน้า
๔๐. กุสุมา ชัยโตษะ. ความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่ออาหารชีวจิต : กรณีศึกษาร้านพลังบุญ เขตบึงกุ่มกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๔๗. ๗๘ หน้า.
๔๑. ขัตติยา ขัติยวรา. การก่อรูปทางอัตลักษณ์ของขบวนการเคลื่อนไหวทางศาสนา : กรณีศึกษาชุมชนสันติอโศก. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๗. ๑๖๑ หน้า.
๔๒. ควันเทียน อโศกตระกูล. การบริหารงานโรงเรียนสัมมาสิกขาสันติอโศก กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๘. ๓๒๙ หน้า.
๔๓. ดวงใจ รัตนธัญญา, ดร. ความหมายและตัวชี้วัดสุขภาวะทางสังคมและจิตวิญญาณ : กรณีศึกษาชุมชน
บุญนิยมสันติอโศก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๘. ๑๒๑ หน้า. (งานวิจัย)
๔๔. วัชรินทร์ จุลสำรวล. รูปแบบการสื่อสารในชุมชนปฐมอโศก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๘.
๙๙ หน้า.
๔๕. จุฬา สุดบรรทัด. คุณธรรมในธุรกิจ : การศึกษาสภาพการดำเนินธุรกิจควบคู่กับการทำประโยชน์เพื่อสังคมของบริษัท บางจากปิโตเลียม จำกัด (มหาชน). กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยภายใต้การสนับสนุนการวิจัยจากศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน), ๒๕๔๘. ๔๓๖ หน้า.
6
๔๖. จุฬา สุดบรรทัด. คุณธรรมในธุรกิจ : การศึกษาสภาพการดำเนินธุรกิจควบคู่กับการทำประโยชน์เพื่อสังคมของบริษัท บางจากปิโตเลียม จำกัด (มหาชน) ฉบับย่อเนื้อหา. กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยภายใต้การสนับสนุนการวิจัยจากศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน), ๒๕๔๘. ๑๑๒ หน้า.
๔๗. ปิยะมาศ ยินดีสุข. การศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณของนักเรียนโรงเรียนวิถีพุทธ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๘. ๓๙๒ หน้า.
๔๘. ยุทธชัย จอมพงษ์. แนวคิดทางการเมืองของสมณะโพธิรักษ์. กรุงเทพฯ : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาการเมืองการปกครอง สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๙. ๒๔๘ หน้า. ภาคผนวก
๔๙. สุรชัย พันธุมาศ. การดำเนินธุรกิจแบบพอเพียงตามแนวเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ ศึกษาเฉพาะกรณีการดำเนินกิจการของบริษัท พลังบุญ จำกัด. กรุงเทพฯ : วิชาการค้นคว้าอิสระ คณะรัฐศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๔๙. ๖๙ หน้า. ภาคผนวก ภาพประกอบ ตาราง
๕๐. สุวิดา แสงสีหนาถ. ภูมิปัญญาบูรณาการบนฐานคิดพุทธปรัชญา : ยุทธศาสตร์ทางเลือกในการพัฒนาสังคมไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๙. ๕๖๘ หน้า.
๕๑. ฟังฝน จังคศิริ. การสำรวจพฤติกรรมของนักเรียนช่วงชั้นเรียนที่ ๓,๔ ที่มีผลมาจากการเรียนวิชาศีลสิกขา โรงเรียนสัมมาสิกขาสันติอโศก กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : วิชาการศึกษาอิสระ (EA ๖๘๙) ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๔๙. ๑๐๕ หน้า.
๕๒. จิตรา พันธุมาศ. การตลาดระบบบุญนิยมของชาวสันติอโศก. กรุงเทพฯ : ธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ๒๕๔๙. ๑๑๖ หน้า. ภาคผนวก
๕๓. ณัฐสมา วงษ์รักไทย. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามแนวทางสำนักสันติอโศก. กรุงเทพฯ : ศิลปศาสตร –มหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์
7
เพื่อการพัฒนาบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ใน พระบรมราชูปถัมภ์, ๒๕๔๙. ๑๔๒ หน้า.
๕๔. ใจกลั่น นาวาบุญนิยม. การพัฒนาชุดฝึกอบรมเรื่องการปลูกผักไร้สารพิษตามแนวคิดวิถีพุทธสำหรับนักเรียนในระดับช่วงชั้นที่ ๓ ของโรงเรียนในสังกัดชุมชนชาวอโศก. จ. นครปฐม : คุรุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, พ.ศ. ๒๕๔๙.
๓๖๙ หน้า. ภาคผนวก. ภาพประกอบ.
๕๕. รินธรรม อโศกตระกูล. ระบบบุญนิยมในชุมชนราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี : นวัตกรรมสังคมจาก ภูมิปัญญาพุทธ. สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม, พ.ศ. ๒๕๔๙.
๒๑๙ หน้า.
๕๖. เพชรดินฟ้า ดิศโยธิน. การบริหารสวัสดิการสังคมแบบเศรษฐกิจพอเพียงในระบบบุญนิยม ศึกษากรณีชุมชนดินหนองแดนเหนือ จังหวัดอุดรธานี. จ. อุดรธานี. สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิยทาลัยธรรมศาสตร์, พ.ศ. ๒๕๕๐. ๒๙๘ หน้า. ภาคผนวก.
๕๗. ฌาน ตรรกวิจารณ์. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงพุทธ. รัฐประศาสนศาสตร์ดุษฏีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคำแหง, พ.ศ. ๒๕๕๐. ๕๖๓ หน้า.
๕๘. ดรุณี สิงหเดช. แรงจูงใจในการตัดสินใจบริโภคอาหารมังสวิรัติของพุทธศาสนิกชน : ศึกษาเปรียบเทียบเฉพาะกรณีวัดทิพยวารีวิหาร (กัมโล่วยี่) กับพุทธสถานสันติอโศก. พุทธศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พ.ศ. ๒๕๕๐. ๓๒๙ หน้า.
๕๙. ชุมพล ศรีรวมทรัพย์. การศึกษาชุมชนชาวอโศก จังหวัดเชียงใหม่ในฐานะรัฐและสังคมในอุดมคติ. รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองและการปกครอง บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, พ.ศ. ๒๕๕๑. ๒๕๗ หน้า.
๖๐. มิ่งหมาย มุ่งมาจน. การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารโรงเรียนสัมมาสิกขาราช–ธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี. ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, พ.ศ. ๒๕๕๒. ๒๗๖ หน้า.
8
๖๑. ทิพวัลย์ คำคง. การจัดการศึกษาที่สะท้อนแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษาโรงเรียนสัมมาสิกขาสันติ–อโศก. ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, พ.ศ. ๒๕๕๒. ๓๖๒ หน้า.
๖๒. ใจเพชร กล้าจน. ความเจ็บป่วยกับการดูแลสุขภาพแนวเศรษฐกิจพอเพียงตามหลักแพทย์ทางเลือกวิถีพุทธของศูนย์เรียนรู้สุขภาพพึ่งตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง สวนป่านาบุญ อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนบูรณาการศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, พ.ศ. ๒๕๕๓. ๑๙๔ หน้า.
๖๓. ประภากูล จีระมะกร. พฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้รับชมรายการของสถานีโทรทัศน์เพื่อมนุษยชาติ (FMTV) ซึ่งดำเนินการโดย บริษัท เดินหน้าฝ่ามหาสมุทร (บุญนิยม) จำกัด. นิเทศน์ศาสตร์ สาขาวิชาการบริหารการสื่อ มหาวิทยาลัยเกริก, พ.ศ. ๒๕๕๓. ๑๔๔ หน้า. (สารนิพนธ์)
๖๔. ดาวเพ็ญ นาวาบุญนิยม. ชุมชนฝึกฝนเศรษฐกิจพอเพียง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ชุมชนทดลองโดยเจตนา. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, พ.ศ. ๒๕๕๔. ๒๐๕ หน้า.
๖๕. ธำรงค์ แสงสุริยจันทร์. กรณีศึกษากระบวนการเปลี่ยนพฤติกรรมของเกษตรกรหลังจากผ่านโครงการฝึกอบรมแนวทาง “บุญนิยม” โดยชุมชนราชธานีอโศก. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, พ.ศ. ๒๕๕๔. ๓๒๗ หน้า.
๖๖. ใบบุญ ชาติบุญนิยม. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูและบุคลากรทางการศึกษา กลุ่มโรงเรียนสัมมาสิกขา. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, พ.ศ. ๒๕๕๕. ๑๗๒ หน้า.
๖๗. นวลรัชดิ์ อมรรัตนบงกช. ศาสนากับการเมืองใหม่ในประเทศไทย. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การเมือง) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, พ.ศ. ๒๕๕๔. ๓๑๖ หน้า.
๖๘. แก่นฟ้า แสนเมือง. กรณีศึกษากระบวนการสร้างจิตสำนึกสาธารณะในการ
9
จัดการขยะมูลฝอยเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพของชุมชนศีรษะอโศก. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, พ.ศ. ๒๕๕๔. ๑๔๗ หน้า.
๖๙. ขวัญดิน สิงห์คำ. การบูรณาการการศึกษาของโรงเรียนสัมมาสิกขาศีรษะอโศกเพื่อพัฒนาบุคคลและชุมชน. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, พ.ศ. ๒๕๕๔. ๑๔๕ หน้า.
๗๐. แซมดิน เลิศบุศย์. การบูรณาการระบบสาฌารณโภคีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน : กรณีศึกษาชุมชนอโศก. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, พ.ศ. ๒๕๕๔. ๑๐๕ หน้า.
๗๑. อุ่นเอื้อ สิงห์คำ. กระบวนการและผลกระทบของการสร้างเสริมสุขภาวะองค์รวมวิถีพุทธ. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, พ.ศ. ๒๕๕๔.
๒๑๗ หน้า.
๗๒. ร้อยขวัญพุทธ มุ่งมาจน. การบูรณาการองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นของ ๔ ชุมชน ในจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อเสนอรูปแบบใหม่ของชุมชนแห่งการเรียนรู้. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, พ.ศ. ๒๕๕๕. ๒๔๗ หน้า.
๗๓. อภิสิน ศิวยาธร. วิชชาจรณสัมปันโนเพื่อการหลุดพ้นในกระบวนทัศน์บูรณาการ. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, พ.ศ. ๒๕๕๕. ๔๓๒ หน้า.
๗๔. วลัญชา สุพรรณธริกา. สังคมอุดมสุขที่ยั่งยืน. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, พ.ศ. ๒๕๕๕. ๑๗๕ หน้า.
๗๕. สุพจน์ ประกิจจานุรักษ์. ประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวของขบวนการทางศาสนาแนวใหม่ในประเทศไทย : จากสันติอโศกสู่วิถีชุมชนราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พ.ศ. ๒๕๕๕. ๑๖๖ หน้า.
๗๖. สุขวสา แสงเสรีสถิตย์. ธรรมาภิบาลแนวพุทธ กรณีศึกษาเปรียบเทียบชุมชน
10
ต้นแบบในประเทศไทย. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การเมือง) มหาวิทยาลัยรามคำแหง, พ.ศ. ๒๕๕๕. ๔๐๕ หน้า.
๗๗. หนึ่งฟ้า นาวาบุญนิยม. สติปัฏฐาน ๔ ที่สัมพันธ์กับจรณะ ๑๕ วิชชา ๘ ที่เป็นองค์รวมและบูรณาการในแนวทางปริยัติเพื่อการปฏิบัติของสมณะโพธิรักษ์. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, พ.ศ. ๒๕๕๕. ๒๓๙ หน้า.
๗๘. กิติพงษ์ แซ่เจียว. การศึกษาบุญนิยมกับคุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ ของนักเรียนเครือข่ายโรงเรียน สัมมาสิกขา. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, พ.ศ. ๒๕๕๖. ๑๘๙ หน้า.
๗๙. วัลลภ จันดาเบ้า. การศึกษาวนเกษตรในระดับเกษตรกรและชุมชนเพื่อการพึ่งตนเอง. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนบูรณาการศาสตร์ คณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, พ.ศ. ๒๕๕๖. ๒๐๕ หน้า.
๘๐. ทิวเมฆ นาวาบุญนิยม. การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนปฐมอโศก จังหวัดนครปฐม. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, พ.ศ. ๒๕๕๗. ๑๗๐ หน้า.
๘๑. วิชัย เจียมวิจิตรกุล. รูปแบบการพัฒนาศีลธรรมให้กับเยาชนด้วยวิธีการสัมมาอริยมรรคมีองค์ ๘ ตามแนวทางภูผาฟ้าน้ำเครือแหชาวอโศก. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, พ.ศ. ๒๕๕๗. ๒๖๑ หน้า.
๘๒. รุณยุภา วริวงศ์. การศึกษานโยบายและปัจจัยที่มีผลกระทบของสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมบุญนิยมทีวี. (การศึกษาค้นคว้าอิสระ) ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม) คณะนิเทศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, พ.ศ. ๒๕๕๘. ๑๒๒ หน้า.
ภาษาอังกฤษ
1. CHUREEPORN CHITCHUMROONCHOKCHAI. NUTRIENT INTAKE AND HEALTH STATUS OF THAI VEGANS : TRACE ELEMENTS AND VITAMIN B
11